THE DEFINITIVE GUIDE TO สังคมผู้สูงอายุ

The Definitive Guide to สังคมผู้สูงอายุ

The Definitive Guide to สังคมผู้สูงอายุ

Blog Article

“เพศแม่คือบุคคลสำคัญในนโยบายนี้ จากทัศนะเดิม ถ้าผู้หญิงคิดจะมีลูกสักคนก็ต้องตริตรองเพื่อเลือกระหว่างการมีบุตร แลกกับการถูกตัดขาดจากตลาดแรงงาน เนื่องจากสังคมยังคาดหวังให้ผู้หญิงรับผิดชอบงานบ้านและงานเลี้ยงดูบุตร ดังนั้น หากเราเชื่อว่าการมีบุตรจะช่วยให้พ่อแม่ในวัยเกษียณมีความสุข รัฐไทยก็ต้องปรับทัศนะ เน้นการให้โอกาสทั้งหญิงและชายในตลาดแรงงานอย่างเท่าเทียมกันมากขึ้น เพราะทั้งสองฝ่ายต้องทำงานและช่วยเหลือกันระหว่างการเลี้ยงดูบุตร เพื่อคุณภาพชีวิตในบั้นปลาย” รศ.ดร.นพพล กล่าว

ผลการศึกษาในประเทศที่พัฒนาแล้วพบว่า การมีบุตรหรือไม่มี ไม่ได้สัมพันธ์กับความสุขในชีวิตผู้สูงวัยแต่อย่างใด เนื่องจากทัศนะเรื่องการมีบุตรยังถือเรื่องความพอใจส่วนบุคคล ตรงข้ามกับประเทศกำลังพัฒนา (ประเทศรายได้ต่ำ-ปานกลาง) ที่เผยว่าการมีบุตรเกี่ยวโยงกับระดับความสุขของคนสูงวัย

อนุญาตทั้งหมด จัดการความเป็นส่วนตัว

สังคมไทยยังมีความคิดเห็นที่แตกต่างกันเกี่ยวกับ “คุณค่า” หรือ “ฐานคิด” โดยเฉพาะการออกแบบระบบความคุ้มครองทางสังคม หากสามารถทำให้เกิดข้อสรุปที่ยอมรับร่วมกันจากภาคส่วนต่าง ๆ ก็จะเป็นหัวใจในการกำหนดทิศทางนโยบายได้อย่างราบรื่น ยกตัวอย่างเช่น การดูแลผู้สูงอายุโดยครอบครัวอาจจะเป็นกระแสหลัก โดยบางพื้นที่ชุมชนเข้มแข็งพอที่จะช่วยกันดูแลผู้สูงอายุ แต่สำหรับหลายครอบครัวหรือหลายชุมชนอาจจะไม่เป็นเช่นนั้น การสร้างหลักประกันด้านรายได้ยามชราภาพด้วยระบบบำนาญและการออมก็ขึ้นอยู่กับการให้คุณค่าเช่นกัน เราจะเลือกฐานคิดความรับผิดชอบส่วนบุคคล (เน้นการออมส่วนบุคคล) การช่วยเหลือเกื้อกูลกันหรือหลักภราดรภาพ (ใช้แนวทางการประกันสังคม) แนวคิดสิทธิขั้นพื้นฐาน หรือการสงเคราะห์ช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส แนวนโยบายจะเปลี่ยนแปลงไปตามการกำหนดคุณค่าเหล่านี้

ศูนย์การแปลและการล่ามเฉลิมพระเกียรติ

ส่องอิทธิพล "ชุดผ้าไทย" ผ่านพระราชกรณียกิจต่างแดนของสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงจากยุคสยามสู่ปัจจุบัน

จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง สังคมผู้สูงอายุ ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้

ศูนย์กีฬาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพเป็นเป้าหมายสำคัญาของประเทศไทย และเพื่อให้ไปสู่เป้าหมายนั้น การทำวิจัยจึงเข้ามามีบทบาทสำคัญในการค้นหาปัญหาที่แท้จริงของผู้สูงอายุในประเทศไทยในมิติต่างๆ ทั้งเรื่องของชีวิตความเป็นอยู่ การเชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อม ชุมชน สังคม รายได้ การพัฒนาศักยภาพรวมถึงเรื่องราวของโรคภัยไข้เจ็บ รวมถึงจัดการกับปัญหาเพื่อหาทางออกที่จะทำให้ผู้สูงอายุ ใช้ชีวิตอย่างมีความสุขมากขึ้น

ประเทศไทยชูนวัตกรรมเพื่อการสูงวัยอย่างมีคุณภาพ

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม (หลักสูตรไทย)

มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสและป้องกันการทุจริตภายในหน่วยงาน

หลักเกณฑ์ในการพิจารณาคัดเลือกตัดสินผลการจัดซื้อจัดจ้าง

สุดท้าย เราอาจต้องเตรียมทำงานนานขึ้น...หากออมไม่พอใช้​

Report this page